วันพฤหัสบดีที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2554

KPI Template

KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม  2553  ถึง  วันที่   31 มีนาคม  2554
นายสุรศักดิ์   สุขก๋า  ตำแหน่ง  นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ(หัวหน้าสถานีอนามัย)
ตัวชี้วัดที่  1  : ระดับที่กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบลมีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
                   ในการดูแลสุขภาพ
หน่วยวัด      : ระดับ
เป้าหมาย     : ระดับ 4
น้ำหนัก        : 20  คะแนน

คำอธิบาย    :  ระดับความสำเร็จ หมายถึงความสำเร็จของการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับ
                     ตำบลมีและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการดูแลสุขภาพ

หลักการให้คะแนน : กำหนดเป็นขั้นตอนของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ โดยพิจารณาจากความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับดังนี้

ระดับ 
เกณฑ์การให้คะแนน
ได้คะแนน
1
มีการจัดทำแผนงานโครงการอบรมการสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
1   คะแนน
2
คณะกรรมการกองทุนฯได้รับการอบรมการสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
2   คะแนน
3
มีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตำบล
3   คะแนน
4
กองทุนฯมีโครงการ ที่ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการดูแลสุขภาพ   60%
4   คะแนน
5
กองทุนฯมีโครงการ ที่ใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการดูแลสุขภาพ   > 60%
5   คะแนน


แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล
          ตรวจสอบจากผลการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับตตำบล
2 ออกปฏิบัติงานเชิงรุกในระดับสถานีอนามัย องค์ปกครองส่วนท้องถิ
ผู้กำกับตัวชี้วัด        :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด  :  นายสุรศักดิ์  สุขก๋า
ามารถดำเนินการครอบคลุมจำนวนประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 98.15
5 สามารถดำเนินครอบคลุมจำนวนประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 99.50







KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม  2553  ถึง  วันที่   31 มีนาคม  2554
นายสุรศักดิ์   สุขก๋า  ตำแหน่ง  นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ(หัวหน้าสถานีอนามัย)

ตัวชี้วัดที่ 2  : ร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง มีการบันทึก
                   ข้อมูลในโปรแกรมคัดกรองความเสี่ยง PPIS สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
หน่วยวัด         : ร้อยละ
เป้าหมาย       :  ร้อยละ 80
น้ำหนัก          :  20  คะแนน

คำอธิบาย :    ประชากรกลุ่ม UC & Non – UC ที่อายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงอย่าง
                   น้อย  1 ครั้งในรอบ 4 ปี และมีการบันทึกข้อมูล ในโปรแกรมคัดกรองความเสี่ยง PPIS
                   ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

สูตรการคำนวณ    :
จำนวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง และได้บันทึกในโปรแกรมคัดกรอง PPIS x  100
                                         จำนวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงทั้งหมด

เกณฑ์ให้คะแนน :  ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + / -  5  หน่วยต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
· ทำได้  ร้อยละ  <70  ได้ 1 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ    75  ได้ 2 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ    80  ได้ 3 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ    85  ได้ 4 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ  > 90 ได้ 5 คะแนน

              
แหล่งข้อมูล / วิธีการเก็บข้อมูล :
1.     แบบสรุปการบันทึกการคัดกรองความเสี่ยง
          2.  ข้อมูล ในโปรแกรมคัดกรองความเสี่ยง PPIS

ผู้กำกับตัวชี้วัด          :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด    :  นายสุรศักดิ์  สุขก๋า





KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม  2553  ถึง  วันที่   31 มีนาคม  2554
นายสุรศักดิ์   สุขก๋า  ตำแหน่ง  นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ(หัวหน้าสถานีอนามัย)

ตัวชี้วัดที่ 3 : ระดับของความสำเร็จในการบริหารจัดการงบประมาณสถานีอนามัย
หน่วยวัด    : ระดับ
เป้าหมาย   : ระดับ 5
น้ำหนัก      : 20  คะแนน
คำอธิบาย : การบริหารจัดการงบประมาณสถานีอนามัย หมายถึง กระบวนการในการบริหารและจัดการงบประมาณภายในสถานีอนามัย โดยมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้
           1.  การจัดทำคำสั่งคณะกรรมการการเงิน
           2.  วางแผนการใช้งบประมาณ
           3.  จัดทำบัญชีเงินสด
           4.  จัดทำรายงานการเงิน(รง.5)
           5.  สรุปการใช้งบประมาณตามไตรมาส
           6.  จัดทำรายงานการเงินประจำเดือน/ปี
เกณฑ์ให้คะแนน :
· ระดับ 1  ทำได้  2 ข้อ ได้ 1 คะแนน
· ระดับ 2  ทำได้  3 ข้อ ได้ 2 คะแนน
· ระดับ 3  ทำได้  4 ข้อ ได้ 3 คะแนน
· ระดับ 4  ทำได้  5 ข้อ ได้ 4 คะแนน
· ระดับ 5  ทำได้  6 ข้อ ได้ 5 คะแนน
          
แหล่งข้อมูล / วิธีการเก็บข้อมูล :
1.  ทะเบียนการเงิน
2.  รายงานการเงิน

ผู้กำกับตัวชี้วัด          :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด    :  นายสุรศักดิ์  สุขก๋า





KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม  2553  ถึง  วันที่   31 มีนาคม  2554
นายสุรศักดิ์   สุขก๋า  ตำแหน่ง  นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ(หัวหน้าสถานีอนามัย)

ตัวชี้วัดที่ 4   : ร้อยละของความสำเร็จในการใช้โปรแกรม JHCIS ในการเก็บรวบรวมข้อมูล และข้อมูล
                    ครบถ้วน  ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน
หน่วยวัด        : ร้อยละ
เป้าหมาย       : ร้อยละ 80
น้ำหนัก          : 15  คะแนน
คำอธิบาย : โปรแกรม JHCIS   เป็นโปรแกรมระบบฐานข้อมูลสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ  ที่มีการข้อมูลพื้นฐาน ระบบคลังยาและเวชภัณฑ์   การให้บริการผู้รับริการ  ครบถ้วน ถูกต้อง สามารถรวบรวมส่งรายงาน 18 แฟ้ม ให้สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ได้ทันเวลา
สูตรการคำนวณ    :
คะแนนที่ได้ทั้งหมด  x  100
                                                            คะแนนทั้งหมด
เกณฑ์ให้คะแนน :


เกณฑ์
             รายละเอียดการดำเนินการ        
คะแนน
เกณฑ์ที่ 1 
มีระบบจัดเก็บข้อมูลสาธารณสุขที่สำคัญ
และมีระบบเชื่อมโยงข้อมูลทั่วทั้งองค์กร
1. ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลและนำเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล (Database) ได้
20 คะแนน
2. มีระบบจัดเก็บข้อมูลตามชุดข้อมูลมาตรฐาน  18 แฟ้ม
10 คะแนน
3. มีระบบเชื่อมโยงอินเตอร์เน็ตระหว่างหน่วยงานกับสาธารณสุขอำเภอ
10 คะแนน
เกณฑ์ที่ 2 
การส่งข้อมูลการให้บริการและผลการส่งข้อมูลการให้บริการ ( สอ.)
1.ความทันเวลา
20 คะแนน
2.ความครบถ้วนของการส่งข้อมูลของสถานบริการ

20 คะแนน
3.มีการประมวลผลข้อมูลตามชุดข้อมูลมาตรฐาน 18 แฟ้มใน หน่วยบริการ
20 คะแนน

ช่วงการให้คะแนน  :  ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + / -  10  หน่วยต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
               *ได้คะแนน  ร้อยละ < 50    ได้   1   คะแนน   *ได้คะแนน  ร้อยละ    80   ได้   4   คะแนน
               *ได้คะแนน  ร้อยละ    60    ได้   2    คะแนน   *ได้คะแนน  ร้อยละ  > 90 ได้   5   คะแนน
               *ได้คะแนน  ร้อยละ    70    ได้   3   คะแนน
          
แหล่งข้อมูล / วิธีการเก็บข้อมูล :
1.     ข้อมูล 18  แฟ้ม                                     2.   ทะเบียนคุมการส่งรายงาน

ผู้กำกับตัวชี้วัด          :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด    :  นายสุรศักดิ์  สุขก๋า

KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม  2553  ถึง  วันที่   31 มีนาคม  2554
นายสุรศักดิ์   สุขก๋า  ตำแหน่ง  นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ(หัวหน้าสถานีอนามัย)
ตัวชี้วัด : P 6 ระดับความสำเร็จในการดำเนินตามระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตัวชี้วัดที่  5  : ระดับของความสำเร็จในการดำเนินตามระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
หน่วยวัด        : ระดับ
เป้าหมาย       : ระดับ 4
น้ำหนัก          : 10  คะแนน

คำอธิบาย    :  ระดับความสำเร็จ หมายถึงความสำเร็จของการดำเนินงานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

หลักการให้คะแนน : กำหนดเป็นขั้นตอนของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ โดยพิจารณาจากความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับดังนี้

ระดับ 
เกณฑ์การให้คะแนน
ได้คะแนน
1
มีการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อให้ประชาชนได้รับทราบรายละเอียด
1   คะแนน
2
ออกปฏิบัติงานเชิงรุกในสถานีอนามัย
2   คะแนน
3
ออกปฏิบัติงานเชิงรุกในหมู่บ้าน
3   คะแนน
4
สามารถดำเนินการครอบคลุมจำนวนประชากรไม่น้อยกว่าร้อยละ 98
4   คะแนน
5
สามารถดำเนินการครอบคลุมจำนวนประชากรมากกว่าร้อยละ 98
5   คะแนน


แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล
      แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งเก็บหลักฐานประกอบการรายงานและสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด โดยจัดเก็บปีละ  2  ช่วง    (  ช่วงที่   1  ระหว่างเดือนตุลาคม 2553 31 มีนาคม 2554 ,ช่วงที่  2 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน 30 กันยายน 2554 )

ผู้กำกับตัวชี้วัด          :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด    :  นายสุรศักดิ์  สุขก๋า

ามารถดำเนินการครอบคลุมจำนวนประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 98.15
5 สามารถดำเนินครอบคลุมจำนวนประชาชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 99.50

KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม  2553  ถึง  วันที่   31 มีนาคม  2554
นายสุรศักดิ์   สุขก๋า  ตำแหน่ง  นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ(หัวหน้าสถานีอนามัย)

ตัวชี้วัดที่  6  : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับคัดกรองภาวะโรคซึมเศร้าและพบความเสี่ยง 1-2 ข้อ
                    ได้รับการตรวจคัดกรองด้วย 9Q
หน่วยวัด        : ร้อยละ
เป้าหมาย       : ร้อยละ 90
น้ำหนัก          : 10  คะแนน
คำอธิบาย : การดำเนินงานคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ และพบความเสี่ยง 1-2 ข้อ
ได้รับการตรวจคัดกรองด้วย 9Q ทุกคนในเขตรับผิดชอบของสถานีอนามัย  ซึ่งประกอบไปด้วย
      1.มีแผนงาน/โครงการการดำเนินงานคัดกรองภาวะโรคซึมเศร้าและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ในผู้สูงอายุ
      2.มีการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ด้วย  9  คำถาม  ในผู้สูงอายุ ที่พบความเสี่ยง 1-2 ข้อทุกคน
      3.ผู้ป่วยซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางที่กำหนด

สูตรการคำนวณ    :
                   จำนวนผู้สูงอายุ พบความเสี่ยง 1-2 ข้อได้รับการตรวจคัดกรองด้วย 9Q   x  100
                      จำนวนผู้สูงอายุ  พบความเสี่ยง 1-2 ข้อทั้งหมดในพื้นที่  (ข้อมูลจากการคัดกรอง 2 Q)

เกณฑ์การให้คะแนน  :  ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + / -  5 หน่วยต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
· ทำได้  ร้อยละ  <70  ได้ 1 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ    75  ได้ 2 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ    80  ได้ 3 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ    85  ได้ 4 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ  > 90 ได้ 5 คะแนน
แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล
          1.รายงานผลการคัดกรองภาวะโรคซึมเศร้าฯ 
          2.รายงานการให้บริการผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

ผู้กำกับตัวชี้วัด          :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด    :  นายสุรศักดิ์  สุขก๋า


KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม  2553  ถึง  วันที่   31 มีนาคม  2554
นายสุรศักดิ์   สุขก๋า  ตำแหน่ง  นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ(หัวหน้าสถานีอนามัย)

ตัวชี้วัดที่ 7 :   ร้อยละของครัวเรือนมีการใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ
หน่วยวัด   : ร้อยละ  
เป้าหมาย  : ร้อยละ 90
น้ำหนัก    :  10 คะแนน
คำอธิบาย : เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ เป็นเกลือที่ตรวจทดสอบด้วยชุด I-KIT มีปริมาณไอโอดีน >30 ppm.
สูตรการคำนวณ :

                   จำนวนครัวเรือนที่ตรวจเกลือหาปริมาณไอโอดีน x100
                                  จำนวนครัวเรือนทั้งหมด


เกณฑ์การให้คะแนน :ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + / -  5 หน่วยต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้


ร้อยละของครัวเรือนที่บริโภค
เกลือเสริมไอโอดีน
ได้คะแนน
<  70
1   คะแนน
75
2   คะแนน
  80
3   คะแนน
 85
4   คะแนน
> 90
5   คะแนน


แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
1.แบบสำรวจการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน
2.สรุปรายงานผลการตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีน


ผู้กำกับตัวชี้วัด          :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด    :  นายสุรศักดิ์  สุขก๋า


KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม 2553 ถึง วันที่ 31 มีนาคม  2554
นายคำดี   จีนะ   ตำแหน่ง  เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

ตัวชี้วัดที่  1    : ร้อยละของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงและพบมีปัจจัยเสี่ยง 2 ข้อขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองด้วย DTX
หน่วยวัด       :   ร้อยละ
เป้าหมาย       :  ร้อยละ 90
น้ำหนัก          :  20  คะแนน

คำอธิบาย      :            
                                     การดำเนินงานคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงและพบมีปัจจัยเสี่ยง 2 ข้อขึ้นไป ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป เพื่อการตรวจคัดกรองด้วย DTX มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
             1. วิเคราะห์ข้อมูลจากการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงและพบมีปัจจัยเสี่ยง 2 ข้อขึ้นไปศึกษาและจัดทำทะเบียนเพื่อนัดหมายดำเนินการต่อไป
             2. ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่ทราบและมีการเตรียมชุมชน ในการเข้ารับบริการคัดกรองการตรวจคัดกรองด้วย DTX
             3. ดำเนินการคัดกรอง และบันทึกผลการคัดกรองในทะเบียนประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ส่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

สูตรการคำนวณ :



     ประชากร 35 ปี ขึ้นไปที่มีความเสี่ยง 2 ข้อขึ้นได้รับการคัดกรองด้วย  DTX  x 100

จำนวนประชากรกลุ่มที่เสี่ยง อายุ 35 ปี ขึ้นไป ทั้งหมด

เกณฑ์ให้คะแนน :  ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + / -  5 หน่วยต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
· ทำได้  ร้อยละ <70  ได้ 1 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ    75  ได้ 2 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ    80  ได้ 3 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ    85  ได้ 4 คะแนน
· ทำได้  ร้อยละ  > 90ได้ 5 คะแนน
แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
             จากทะเบียนการคัดกรองประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ปีงบประมาณ 2553
             จากรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

ผู้กำกับตัวชี้วัด        :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด  : นายคำดี  จีนะ

KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม 2553 ถึง วันที่ 31 มีนาคม  2554
นายคำดี   จีนะ   ตำแหน่ง  เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

ตัวชี้วัดที่  2    :  ระดับของความสำเร็จของการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก 
หน่วยวัด        :  ระดับ
เป้าหมาย       :  ระดับ 4
น้ำหนัก          :   20 คะแนน

คำอธิบาย      : 
1. โรคไข้เลือดออก หมายถึง โรคที่ได้รับการวินิจฉัยอาการตามเกณฑ์ทางคลินิกและหรือมีผลตามเกณฑ์ทางห้องปฏิบัติการว่าป่วยด้วยไข้เลือดออกทุกกลุ่มอาการ ได้แก่ Dengue Fever (DF), Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) และ Dengue Shock Syndrome (DSS)
2. ดัชนีลูกน้ำยุงลาย ในบ้าน (House Index) หมายถึง จำนวนบ้านในชุมชนที่สำรวจพบลูกน้ำยุงลายในจำนวนบ้าน 100 หลังคาเรือน

สูตรการคำนวณ :
House Index : HI  =จำนวนบ้านที่พบลูกน้ำ x 100
    จำนวนบ้านที่สำรวจทั้งหมด

เกณฑ์การให้คะแนน :
กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น  5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงานตามเป้าหมายแต่ละระดับ ดังนี้
ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + / -  5 หน่วยต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
·       ระดับ 1    ทำได้    HI < 15   ได้   1  คะแนน
·       ระดับ 2    ทำได้   HI  =  15  ได้   2  คะแนน
·       ระดับ 3    ทำได้   HI  = 10   ได้   3  คะแนน
·       ระดับ 4    ทำได้   HI  =  5    ได้   4  คะแนน
·       ระดับ 5    ทำได้   HI  =  0    ได้   5  คะแนน
แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
             จากรายงาน Weekly   (WK17)
             จากการสุ่มสำรวจของคณะกรรมการประเมินผล

ผู้กำกับตัวชี้วัด        :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด  : นายคำดี  จีนะ
KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม 2553 ถึง วันที่ 31 มีนาคม  2554
นายคำดี   จีนะ   ตำแหน่ง  เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

ตัวชี้วัดที่  3    :  ร้อยละของความพึงพอใจต่อการให้บริการ
หน่วยวัด        : ร้อยละ
เป้าหมาย        : มากกว่าร้อยละ 80
น้ำหนัก          :   20 คะแนน
คำอธิบาย      :  ผู้รับบริการ หมายถึง ประชาชนที่มารับบริการจากโรงพยาบาล
                   : ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจของประชาชนต่อบริการที่ได้รับ
จากสถานีอนามัยบ้านแม่งูด ด้าน
1. สถานที่ สิ่งแวดล้อม                                        2. เครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์
3. สิ่งของหรือวัสดุ รวมทั้งข้อมูลข่าวสารที่ให้บริการ       4. คุณสมบัติ คุณลักษณะ และบุคลิกของผู้ปฏิบัติงาน
5. วิธีการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่                            6. พฤติกรรมบริการ (Service behavior)
7. ความรู้ความเข้าใจของผู้รับบริการและผู้ที่เกี่ยวข้อง
          การประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการของสถานีอนามัยบ้านแม่งูดนั้น ดำเนินการโดยใช้
แบบสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มารับบริการและเป็นปัจจัยเข้าในกระบวนการให้บริการ ปัจจัยออกหรือผลผลิตคืองานบริการ และผลลัพธ์คือความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับบริการ ซึ่งจะเกิดได้จากการตอบสนองความต้องการ ทั้งจากกระบวนการให้บริการ ผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหาร ทั้งนี้ ในกระบวนการให้บริการจะมีการประเมินผลติดตามและวิเคราะห์ผล เพื่อจะใช้ในการปรับปรุงงานให้บริการอย่างต่อเนื่อง(Continuous Improvement) โดยผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบและมีผู้ปฏิบัติงานรับนโยบายในการปรับปรุงงานบริการ ซึ่งจะเกิดผลในการบริการที่พัฒนาขึ้น ทำให้ผู้รับบริการมีความพึงพอใจมากขึ้น
สูตรการคำนวณ :
                                      จำนวนผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ  100
                                                       จำนวนผู้รับบริการทั้งหมด

เกณฑ์ให้คะแนน :  ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + / -  5 หน่วยต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
* ทำได้  ร้อยละ <70  ได้ 1 คะแนน      *  ทำได้  ร้อยละ    75  ได้ 2 คะแนน
* ทำได้  ร้อยละ    80  ได้ 3 คะแนน     *   ทำได้  ร้อยละ    85  ได้ 4 คะแนน
* ทำได้  ร้อยละ  > 90ได้ 5 คะแนน
แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
              จากแบบประเมินความพึงพอใจในการรับบริการ
             จากสรุปความพึงพอใจในการรับบริการ

ผู้กำกับตัวชี้วัด        :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด  : นายคำดี  จีนะ

KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม 2553 ถึง วันที่ 31 มีนาคม  2554
นายคำดี   จีนะ   ตำแหน่ง  เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัดที่  4    : ร้อยละของการดำเนินงานเฝ้าระวังวัดรอบเอวประชาชนอายุ  15  ปีขึ้นไป
หน่วยวัด       : ร้อยละ
เป้าหมาย       : ไม่น้อยร้อยละ 75
น้ำหนัก          :  10  คะแนน

คำอธิบาย      :            
             การดำเนินงานคัดกรองเฝ้าระวังวัดรอบเอว ดำเนินการไปพร้อมกับการคัดกรอง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด ในประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
             1. สำรวจและจัดทำทะเบียนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป
             2. ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่ทราบและมีการเตรียมชุมชน ในการเข้ารับบริการคัดกรองฯ
             3.ดำเนินการวัดรอบเอว โดยดำเนินการไปพร้อมกับการคัดกรอง เบาหวาน ความดันโลหิตในประชากรอายุ 15 ปี   ขึ้นไป ตามมาตรฐานการคัดกรอง และบันทึกผลการคัดกรองในทะเบียนประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ส่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

สูตรการคำนวณ :



     ประชากร 15 ปี ขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเฝ้าระวังวัดรอบเอว x 100

จำนวนประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ทั้งหมด

เกณฑ์ให้คะแนน :  ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + / -  5 หน่วยต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
·       ทำได้  ร้อยละ ≤ 65  ได้ 1 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ    70  ได้ 2 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ    75  ได้ 3 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ    80  ได้ 4 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ  > 85 ได้ 5 คะแนน

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
             จากทะเบียนการคัดกรองประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ปีงบประมาณ 2554
             จากรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

ผู้กำกับตัวชี้วัด        :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด  : นายคำดี  จีนะ

KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม 2553 ถึง วันที่ 31 มีนาคม  2554
นายคำดี   จีนะ   ตำแหน่ง  เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน

ตัวชี้วัดที่ 5     : ร้อยละของสตรีอายุ 40 ปีขึ้นไป ได้สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง
หน่วยวัด        :  ร้อยละ
เป้าหมาย       :  ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
น้ำหนัก          :  10  คะแนน
คำอธิบาย  :     การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งเต้านม ดำเนินการโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขสอนอาสาสมัครสตรี เพื่อถ่ายทอดให้สตรีสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง สม่ำเสมอ เป็นประจำทุกเดือน ทั้งนี้สตรีอายุ 40 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการประเมินทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

สูตรการคำนวณ :
จำนวนสตรีอายุ  40  ปีขึ้นไป ได้รับการประเมินทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง X  100
                                       สตรีอายุ  40  ปีขึ้นไป ทั้งหมดในพื้นที่  (ข้อมูลจากการสำรวจ)

เกณฑ์การให้คะแนน   :  ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + / -  5 หน่วยต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
·       ทำได้  ร้อยละ    < 70  ได้ 1 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ     75    ได้ 2 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ    80    ได้ 3 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ    85     ได้ 4 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ     > 90  ได้ 5 คะแนน
แหล่งข้อมูล / วิธีการจัดเก็บข้อมูล    :
                        1. ทะเบียนสตรีในเขตรับผิดชอบอายุ 40 ปีขึ้นไป ทั้งหมดในพื้นที่ที่ได้จากการสำรวจ
                 2. ทะเบียนการประเมินทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเองโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
                 3. รายงานการป้องกันควบคุมโรคมะเร็งเต้านม

ผู้กำกับตัวชี้วัด        :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด  : นายคำดี  จีนะ






KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม 2553 ถึง วันที่ 31 มีนาคม  2554
นายคำดี   จีนะ   ตำแหน่ง  เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัดที่  6    : ร้อยละของเยาวชนอายุ 10-24 ปี เป็นสมาชิก TO BE NUMBERONE
หน่วยวัด       : ร้อยละ
เป้าหมาย       : ร้อยละ 85
น้ำหนัก          :  10  คะแนน

คำอธิบาย      : การดำเนินงาน TO BE NUMBERONE  เป็นการรับสมัครสมาชิก TO BE NUMBERONE ในกลุ่มเยาวชนอายุ 10-24 ปี  มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
             1. สำรวจและจัดทำทะเบียนประชากรอายุ 10-24  ปีขึ้นไป
             2. ประชาสัมพันธ์ให้เยาวชนในพื้นที่ทราบและมีการเตรียมชุมชน  ก่อนรับสมัครสมาชิก
             3.มีการจัดตั้งคณะกรรมการดำเนินการอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร และมีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และบันทึกกิจกรรมรายงานให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ต่อไป

สูตรการคำนวณ :


   ประชากรอายุ 10-24 ปี เป็นสมาชิก TO BE NUMBERONE x 100

จำนวนประชากรอายุ 10-24 ปี ปี ทั้งหมด

เกณฑ์ให้คะแนน :  ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + / -  5 หน่วยต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
·       ทำได้  ร้อยละ ≤ 65  ได้ 1 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ    70  ได้ 2 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ    75  ได้ 3 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ    80  ได้ 4 คะแนน
·       ทำได้  ร้อยละ  > 85 ได้ 5 คะแนน

แหล่งข้อมูล/วิธีการจัดเก็บข้อมูล :
             จากทะเบียนการคัดกรองประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไป ปีงบประมาณ 2554
             จากรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

ผู้กำกับตัวชี้วัด        :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด  : นายคำดี  จีนะ




KPI  Template    ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ในระยะเวลา 6 เดือน  เริ่มตั้งแต่ วันที่       1 ตุลาคม 2553 ถึง วันที่ 31 มีนาคม  2554
นายคำดี   จีนะ   ตำแหน่ง  เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน
ตัวชี้วัดที่  7    : ร้อยละของการจัดทำเอกสารการเงิน การบัญชี  รายรับรายจ่าย ของสถานบริการถูกต้อง เป็นปัจจุบัน 
หน่วยวัด       : ร้อยละ
เป้าหมาย       : ร้อยละ 90
น้ำหนัก          :  10  คะแนน
                      สามารถตรวจสอบได้และจัดส่งให้สำนักงานสาธารณสุขอำเภอฮอด ทันเวลา

สูตรการคำนวณ    :
คะแนนที่ได้ทั้งหมด  X  100
                                                        คะแนนทั้งหมด
เกณฑ์ให้คะแนน :

     เกณฑ์
             รายละเอียดการดำเนินการ        
คะแนน
เบียนคุมเงิน การจัดทำเอกสารการเงินการบัญชี  รายรับรายจ่าย ของสถานบริการถูกต้อง เป็นปัจจุบัน      สามารถตรวจสอบได้และจัดส่งให้สำนักงานสาธารณสุขอำเภอฮอด ทันเวลา

1. มีการจัดทำทะเบียนคุมเงินสดในมือ
5  คะแนน
2. มีการจัดทำทะเบียนคุมสมุดคู่ฝาก
5 คะแนน
3. มีการจัดทำทะเบียน(401)
10 คะแนน
4. มีการจัดทำคุมเงินนอกงบประมาณ(แบบ 404 )
10 คะแนน
5.มีการจัดทำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน(แบบ 407 )
10 คะแนน
6.มีการจัดทำรายงานประเภทเงินคงเหลือประจำวัน(แบบ 408 )
10 คะแนน
7.มีการจัดทำ รง.5 ประเภทรายรับ
10 คะแนน
8.มีการจัดทำ รง.5 ประเภทรายจ่าย(ระบบบัญชีเกณฑ์คงค้าง)
10 คะแนน
9.มีการจัดทำเอกสาร ขออนุมัติจ่ายเงิน
10 คะแนน
10.มีการจัดทำรายงานงบเดือน(รายรับ-รายจ่าย เงินบำรุง)
20 คะแนน

ช่วงการให้คะแนน  :  ช่วงการปรับเกณฑ์การให้คะแนน + / -  5  หน่วยต่อ 1 คะแนน โดยกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้
               *ได้คะแนน  ร้อยละ   ≤70   ได้   1   คะแนน   *ได้คะแนน  ร้อยละ    85    ได้   4   คะแนน
               *ได้คะแนน  ร้อยละ   75    ได้   2    คะแนน   *ได้คะแนน  ร้อยละ  > 90   ได้   5   คะแนน
               *ได้คะแนน  ร้อยละ    80    ได้   3   คะแนน
          
แหล่งข้อมูล / วิธีการเก็บข้อมูล :
1.     เอกสารการเงินและบัญชีของสถานีอนามัย        2.   สำเนารายงานงบเดือน

ผู้กำกับตัวชี้วัด        :  นายยงยุทธ  แก้วเทพย์
ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด  : นายคำดี  จีนะ